Academia.eduAcademia.edu
1 สิ นค้า มูลค่า และสภาวะแปลกแยกในหนังสือ ว่าด้วยทุน ของคาร์ล มาร์กซ์ Commodity, Value, and Fetishism in Marx’s Capital วัชรพล พุทธรักษา บทนา มนุษย์ในสังคมโลกปั จจุบนั ปฏิเสธไม่ได้ว่าต้องเผชิญหน้ากับ “ความสัมพันธ์ทางสังคม1” แบบ ทุนนิยม) ทัง้ โดยทางตรงและทางอ้อม อย่างน้อยทีส่ ุดมนุษย์ยอ่ มต้องบริโภคสินค้าและ/หรือบริการขัน้ พื้นฐานที่สุดเพื่อการดารงชีวติ ให้อยู่รอดได้ แม้มนุ ษย์จะไม่ม ี “เงิน” เป็ นสื่อในการแลกเปลีย่ นสินค้า และบริการก็ตาม คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) นักคิดและนักปฏิบตั กิ ารทางสังคมคนสาคัญคนหนึ่งของ ศตวรรษที่ 19 ได้มอบแนวคิดที่สาคัญ ยิง่ ไว้ใ นประโยคแรกสุ ดของบทเปิ ดตัว ของหนังสือวิพากษ์ เศรษฐกิจการเมืองทุนนิยมเล่มสาคัญทีช่ ่อื “ว่าด้วยทุน” (Das Kapital หรือ The Capital) ว่า “ความมัง่ คัง”่ ของนานาสังคมที่มวี ถิ ีการผลิตแบบทุนนิยมนัน้ ปรากฏให้เห็นเด่น ชัดโดยการสังสมที ่ ่ “สินค้า” (Commodities) (Marx, 1976: Ch 1) ซึง่ มาร์กซ์เสนอว่าเป็ น “รูปแบบ” (Form) พืน้ ฐานทีส่ ุดของการ มองความสัมพันธ์ทางสังคมแบบทุนนิยมไม่ใช่ทเ่ี งินตราแต่อย่างใด งานเขียนชิน้ นี้ตอ้ งการแนะนาแนวคิดเศรษฐกิจการเมืองเบือ้ งต้นของคาร์ล มาร์กซ์ในหนังสือ ว่าด้วยทุน เพื่อเป็ นการปูพน้ื ให้กบั ผูส้ นใจในการศึกษาแนวทาง “การวิพากษ์”2 เศรษฐกิจการเมืองใน แบบทุนนิยมตามแนวทางของมาร์ก ซ์ ข้อ เสนอหลัก ของบทความนี้ก็ค ือ แนวคิดเรื่อ งการวิพากษ์ เศรษฐกิจการเมืองในหนังสือ ว่าด้วยทุน นัน้ ยังคงสาคัญและจาเป็ นสาหรับผูท้ ส่ี นใจในการทางานของ ความสัมพันธ์ทางสังคมในแบบทุนนิยมในปั จจุบนั อย่างไรก็ตามบทความชิ้นนี้ไม่ได้เป็ นการแนะนา ความคิดทัง้ หมดของ ว่าด้วยทุน หากแต่ผู้เขียนต้อ งการสร้างจุดตัง้ ต้น (Point of departure) ทาง ผูเ้ ขียนเลือกใช้คาว่า ความสัมพันธ์ทางสังคม (Social Relations) แบบทุนนิยมแทนคาว่า “ระบบ” ทุนนิยมทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไปเนื่ อ งจากภายใต้ ก รอบแนวคิด แบบมาร์ก ซิส ต์ นั น้ ปรากฏการณ์ ท างสัง คม เศรษฐกิจ การเมือ ง นั น้ มึ ความสัม พัน ธ์เ ชื่อ มโยงกันและมาร์ก ซ์นัน้ ให้ค วามสาคัญกับ “ความสัม พัน ธ์” (Relations) ระหว่ า งปั จจัยต่ างๆ มากกว่าการพิจารณาแบบแยกส่วน นอกจากนี้การใช้คาว่า “ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบทุนนิยม” นัน้ ยังให้ภาพ กว้างกว่าการมองทุนนิยมทีเ่ ป็ น “ระบบ” ในการผลิตเพียงเท่านัน้ แต่เป็ นระบบทีข่ อ้ งเกีย่ วกับชีวติ ประจาวันในทุกทาง อีกด้วย 2 การ“วิพากษ์” หรือ Critique สาหรับมาร์กซ์แล้วคือการมองปรากฏการณ์ทางสังคม-เศรษฐกิจการเมืองให้กา้ วข้าม จากเปลือกนอก (Appearance/Form) ที่มองเห็นโดยทัวไปได้ ่ การมองข้ามเปลือกนอกจะท าให้เ รามองเห็น ถึง รากฐานของความสัมพันธ์ทางสังคมทีซ่ ่อนอยู่เบือ้ งหลังปรากฏการณ์ต่างๆ ดังนัน้ สาหรับมาร์กซ์แล้วในการวิเคราะห์ ทางการเมืองนัน้ ไม่ใช่เพียงการวิจารณ์ ท่เี ปลือกนอกที่มองเห็นแต่ยงั ต้องก้าวไปให้ถึงต้นตอ/สาเหตุท่ที าให้เกิด ปรากฏการณ์ต่างๆอย่างถึงรากถึงโคนอีกด้วย 1 2 ความคิดของผู้สนใจ ว่าด้วยทุน เท่านัน้ ดังนัน้ การกล่าวถึงหนังสือ ว่าด้วยทุน ในที่น้ีจงึ เป็ น ว่าด้วย ทุน เฉพาะฉบับที่ 1 (Volume 1) เป็ นหลัก การน าเสนอในบทความนี้ ป ระกอบด้ว ย ส่ ว นด้ว ยกัน ได้แ ก่ ส่ ว นแรก เป็ น การแนะน า เบือ้ งต้นเกี่ยวกับหนังสือ ว่าด้วยทุน ส่วนทีส่ อง เป็ นการอธิบายเกี่ยวกับความมังคั ่ งในสั ่ งคมทุนนิยม สินค้า ผู้ผลิตสินค้าซึ่งก็คอื ชนชัน้ กรรมาชีพ นอกจากนี้ในส่วนนี้ยงั ได้ทาการเผยให้เห็นถึงสภาวะ นามธรรมทีซ่ ่อนอยู่ฉากหลังของสินค้าทีก่ รรมาชีพเป็ นผูส้ ร้างขึน้ มาเอง นัน่ ก็คอื แนวคิดเรื่อง “ทฤษฎี มูลค่าแรงงาน” นัน่ เอง ส่วนทีส่ าม เป็ นการกล่าวถึงว่าภายใต้สงั คมทุนนิยมนัน้ นายทุนได้สร้างกาไร หรือ “มูลค่าส่วนเกิน” ให้เกิดขึน้ ได้อย่างไร และส่วนสุดท้าย เป็ นการนาเสนอแนวความคิดสาคัญที่ เป็ นหนึ่งในความคิดแกนกลางของมาร์กซ์ นัน่ ก็คอื การวิพากษ์สภาวะแปลกแยกของแรงงานซึ่งจะ เกิดขึน้ ในความสัมพันธ์ทางสังคมแบบทุนนิยมเท่านัน้ การเผยให้เห็นสภาวะซ่อนเร้นที่แผงอยู่หลัง ฉากของการผลิตสินค้า (และบริการ) นัน้ เป็ นจุดตัง้ ต้น สาคัญยิง่ ในการแสวงหาแนวทางเพื่อต่อสูก้ บั ทุนนิยมได้ต่อไป 1. ว่าด้วยทุน เหตุใดเราซึ่งมีชวี ติ อยู่ในโลกปั จจุบนั จึงยังควรให้ความสาคัญกับ ว่าด้วยทุน หนังสือที่เขียน ขึน้ เมื่อร้อยกว่าปี ทแ่ี ล้ว? ทัง้ ทีโ่ ลกทุนนิยมได้มวี วิ ฒ ั นาการไปมากในหลากหลายมิตเิ กีย่ วกับการสร้าง ความมังคั ่ ง่ แต่เพราะเหตุใด ว่าด้วยทุน จึงยังควรศึกษาและนากลับมาทาความเข้าใจโลกปั จจุบนั อีก ? ค าถามสาคัญ เหล่ านี้ผู้เ ขีย นจะยังไม่ต อบ ณ ที่น้ีแต่ จะชัก ชวนให้ผู้อ่ า นได้ค ิดตามไปด้ว ยกัน และ กล่าวถึงอีกครัง้ ในส่วนสรุปของบทความ (อย่างไรก็ดตี ่อคาถามทีว่ ่าทาไมเรายังควรอ่านมาร์กซ์อยู่อกี นัน้ โปรดดู Wolf, 2002) 1.1 ว่าด้วยทุน อาจกล่าวได้ว่าหนังสือเล่มนี้นนั ้ เป็ นดอกผลของการสังสมประสบการณ์ ่ การต่อสูท้ างการเมือง และการเขียนหนังสือมาเป็ นเวลานานของมาร์กซ์ ก่อนทีต่ ้นฉบับของ ว่าด้วยทุน จะสาเร็จออกมานัน้ มาร์กซ์ได้เขียนต้นร่างไว้ก่อนในชื่อ Grundrisse หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ โครงร่างว่าด้วยการวิพากษ์ เศรษฐกิจการเมือง (Outline of a Critique of Political Economy) ซึ่งมาร์กซ์เ ขียนเสร็จสิ้นในช่ ว งปี 1857-1858 จนกระทังปี ่ 1867 ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 1 จึงได้ตพี มิ พ์ออกมา อย่างไรก็ตาม ว่าด้วยทุน นัน้ 3 มีก ารปรับ ปรุง หลายครัง้ ในการพิม พ์ค รัง้ ต่ อ ๆมาในภาษาต่ า งๆ อาทิ การปรับ ปรุง บทที่ 1 ปรับ โครงสร้างการนาเสนอในส่วนของบท และหัวข้อในการพิมพ์ครัง้ ที่ 2 ในปี 1872 ขณะทีก่ ารแปลเป็ น ภาษาฝรังเศสในปี ่ 1875 นัน้ มาร์กซ์ได้ปรับปรุงโครงสร้างของบทเกี่ยวกับกระบวนการว่าด้วยการ สะสมทุนใหม่ เป็ นต้น (Bruschi, et. al., 2013: 20) แม้แต่เริม่ แรกมาร์กซ์จะต้องการทีจ่ ะเขียน ว่าด้วย ทุน แบ่งออกเป็ น 6 เล่มครอบคลุมประเด็นต่างๆได้แก่ เล่มทีห่ นึ่ง ว่าด้วยทุนในภาพรวม (Capital in general) เล่ ม ที่ส อง ว่ า ด้ว ยทรัพ ย์ส ิน บทที่ดิน (Landed properties) เล่ ม ที่ส าม ว่ า ด้ว ยแรงงานที่ ทางานแลกกับค่าจ้าง (Wage labour) เล่มทีส่ ่ี ว่าด้วยรัฐ (the State) เล่มทีห่ า้ ว่าด้วยการค้านานาชาติ (International Trade) และเล่มที่หก ว่าด้วยตลาดโลกและวิกฤติ (World maket and crises) แต่งาน ของมาร์กซ์ไม่ได้เสร็จสมบูรณ์ดงั ที่ตงั ้ ใจเนื่องจากการเสียชีวติ ของมาร์กซ์ในปี 1883 ภายหลังการ เสียชีวติ ของมาร์กซ์ เองเกลส์ผเู้ ป็ นเพื่อนของเขาได้สานต่อความตัง้ ใจของมาร์กซ์โดยการเรียบเรียง หนังสือ ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 2 และ 3 โดยอ้างอิงจากต้นร่างทีม่ าร์กซ์ได้เขียนทิง้ เอาไว้ (Mandel, 1976: 27-28 และดู Rosdolsky, 1977: Ch 2, Part I) ภายหลังการเสียชีวติ ของมาร์กซ์ หนังสือ ว่าด้วยทุน ได้รบั การแปลไปในหลากหลายภาษา และมีการเผยแพร่ การตัง้ กลุ่มศึกษาความคิดของเขาในหนังสือเล่มนี้ และรวมถึงมีการตีพมิ พ์งาน วิชาการเกี่ยวกับการแนะนาการอ่าน ว่าด้วยทุน ในโลกภาษาอังกฤษอยู่เสมอ (โปรดดู เช่น Shapiro, 2008; Harvey, 2010, 2013; Heinrich, 2013; Jameson, 2014; Callinicos, 2014) แม้ นั ก วิ ช าการ สายที่ไม่ใช่มาร์กซิสต์จะมองว่าความคิดของมาร์กซ์นัน้ ตายไปแล้วและไม่สามารถใช้อธิบายอะไรได้ มากนัก ในโลกปั จจุบนั กล่ าวคือ ไม่ส ามารถใช้ก ารได้ดงั เห็นได้จากการเติบโตและขยายตัว อย่าง ต่อเนื่องของระบบทุนนิยมในปั จจุบนั อย่างไรก็ดบี ทความนี้ไม่เห็นด้วยกับข้อคิดเห็นดังกล่าวและ เสนอว่า ว่าด้วยทุน นัน้ อย่างน้อยทีส่ ุดได้ทาหน้าทีใ่ นการเผย (Reveal) ให้เห็นถึงแง่มุมของการกดขี่ ขูดรีดระหว่างชนชัน้ และความไม่เป็ นธรรมในสังคม ซึ่งเป็ นสิง่ ที่สานักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมไม่ ได้ กล่าวถึง (Heinrich, 2012: Ch 2; Bonefeld, 2014: Ch 2) 1.2 โครงสร้างของหนังสือ ว่าด้วยทุน ว่าด้วยทุน ทัง้ 3 ฉบับนัน้ ล้วนแต่เขียนขึน้ โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันดังที่ปรากฏเป็ นชื่อรอง (Subtitle) ของหนังสือ ว่าด้ว ยทุน ซึ่งนัน่ ก็ค ือ A Critique of Political Economy หรือ “ว่าด้ว ยการ วิพากษ์เศรษฐกิจการเมือง” นัน่ เอง ในงานเขียนทัง้ 3 ฉบับนัน้ มีโครงสร้างในการวิพากษ์ หรือเผยให้ เห็นถึงเบือ้ งหลังของทุนนิยมในแง่มมุ ต่างๆดังทีน่ าเสนอในตารางที่ 1 ด้านล่างนี้ 4 ตาราง 1: โครงสร้างภาพรวมของหนังสือว่าด้วยทุนทัง้ สามเล่ม Volume 1 The simple circulation of commodities Volume 2 The process of the circulation of capital The process of capitalist production Volume 3 The process of the circulation of capital The process of capitalist production as a whole Volume 3 ทีม่ า: Bruschi, et. al., 2013: 25. โครงสร้างบทต่างๆของ ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 1 นัน้ เป็ นการอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการผลิต สินค้าในระบบทุนนิยมและการหมุนเวียนของสินค้าอย่างง่าย ดังสมการทีป่ รากฏในตารางคือ …P…C’ ซึ่ง P หมายถึง Production หรือ การผลิต สิน ค้า ส่ ว น C’ หมายถึง Commodity หรือ สิน ค้า ที่เ พิ่ม จานวนมากขึ้น ขณะที่ ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 2 ซึ่งเรียบเรียงโดยเองเกลส์ภายหลังการเสียชีวติ ของ มาร์กซ์นัน้ ว่าด้วยกระบวนการในการหมุนเวียนของทุนซึ่งตัง้ ต้นที่เงิน (M – Money) ดังปรากฏใน ตาราง ในทีน่ ้เี งินนัน้ ถูกนาไปใช้เพื่อให้เกิดกระแสหมุนเวียนของทุนในระบบทุนนิยมโดยการใช้ไปเพื่อ ซื้อ ก าลัง แรงงาน (LP – Labour Power) และเครื่อ งมือ /ปั จ จัย การผลิต ต่ า งๆ (MP – Means of Production) ส่วน ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 3 นัน้ เป็ นการกล่าวถึงภาพรวมของกระบวนการผลิตในระบบทุน นิยม ส่วนสมการที่ปรากฏนัน้ คือ M’ (Money) ซึง่ หมายถึงว่าเป้ าหมายสุดท้ายของการผลิตในระบบ ทุนนิยมนัน้ มีความชัดเจนและตรงไปตรงมา กล่าวคือเพื่อทาให้ M … M’ หรือทาให้เงินทีล่ งทุนไปเพื่อ การผลิตนัน้ นาไปสู่การมีเงินที่มากขึ้นนัน่ เอง อย่างไรก็ตามดังที่ได้กล่าวไปข้างต้นว่าบทความนี้ให้ ความสนใจไปยัง ว่ า ด้ว ยทุ น ฉบับ ที่ 1 เป็ น หลัก ดัง นั น้ ตารางที่ 2 ดัง ที่น าเสนอด้า นล่ า งนี้ จ ึง มี รายละเอียดทีม่ ากขึน้ เกีย่ วกับโครงสร้างของหนังสือ ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 1 5 ตาราง 2: โครงสร้างของว่าด้วยทุนฉบับที่ 1 Circulation Production Chapters 1-3 Chapters 4-6 Simple commodity circulation C–M–C The circulation of capital M – C – M’ Chapters 7-24 Chapter 25 The immediate Accumulation of process of the the social capital production, reproduction, and accumulation of individual capital Logical-conceptual level, class struggles, historical illustrations Chapters 26-33 The so-called primitive accumulation Historical origins of capitalism ทีม่ า: Bruschi, et. al., 2013: 26. การนาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการวิพากษ์เศรษฐกิจการเมืองในความสัมพันธ์ทางสังคมแบบ ทุนนิยมนัน้ มาร์กซ์แบ่งโครงสร้างแนวคิดของเขาใน ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 1 โดยเขานาเสนอความคิด ภายใต้แนวคิดเกี่ยวกับการหมุนเวียนของสินค้าและทุนอยู่ในบทที่ 1 – 6 โดยทีใ่ นสามบทแรกนัน้ เป็ น การกล่าวถึงการหมุนเวียนของสินค้าอย่างง่าย ดังสมการ C – M – C ซึง่ หมายถึงการผลิตสินค้า (C) ขึน้ เพื่อแลกเปลีย่ นให้ได้มาซึง่ เงินตรา (M) และนาไปสู่การได้มาซึง่ สินค้าใหม่ (C) ต่อไป กระบวนการ แบบนี้มาร์กซ์เรียกว่าการ “ขายเพื่อซือ้ ” อย่างไรก็ตามการขายเพื่อซือ้ นัน้ ไม่ใ ช่ตรรกะหรือวิธคี ดิ ของ ชนชัน้ นายทุนเพราะไม่ได้นามาซึง่ ผลกาไร ดังนัน้ ในบทที่ 4 -6 นัน้ เป็ นการกล่าวถึงการหมุนเวียนของ ทุนเป็ นหลักซึง่ เป้ าหมายของนายทุนก็คอื M – C – M’ กล่าวคือเป็ นการลงทุนด้วยเงินตรา (M) เพื่อ สร้าง/ผลิตสินค้าหรือบริการขึน้ มา (C) ทัง้ นี้ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยแต่เป็ นการผลิตเพื่อการ ขายเพื่อนามาสู่การได้เงินตราที่เพิม่ ขึน้ นัน่ เอง (M’) (ดู Capital บทที่ 4 ว่าด้วยสูตรทัวไปของทุ ่ นใน Marx, 1976: 247-257) 6 นอกเหนือจากประเด็นหลักในเรื่องของการหมุนเวียนสินค้าและทุนแล้ว ในบทที่ – ได้ เน้นไปทีก่ ระบวนการของการผลิตและการผลิตซ้า (Production and reproduction) ในระบบทุนนิยม รวมไปถึงการสังสมทุ ่ น (Accumulation) ของนายทุนในระดับปั จเจก ขณะทีบ่ ทที่ นัน้ กล่าวถึงการ สะสมทุนในภาพรวมของสังคมแบบทุนนิย ม และในส่ ว นท้ายของ ว่าด้วยทุน เล่ มแรกนัน้ ว่าด้ว ย แ น ว คิ ด ที่ เ รี ย ก ว่ า ก า ร สั ่ง ส ม บุ พ ก า ล / ก า ร สั ่ง ส ม ทุ น ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก เ ริ่ ม ( Primitive accumulation/Originating accumulation) ซึง่ มาร์กซ์ได้กล่าวถึงในบทที่ – นอกจากนี้ในตาราง แถวสุดท้ายนัน้ ได้เสนอมุมมองเพิม่ เติมว่า ว่าด้วยทุน ฉบับแรกนี้มรี ูปแบบของการอธิบายในส่วน ของบทที่ – ในรูปแบบการอธิบายเชิงตรรกะและแนวคิด (Logical-conceptual) เป็ นหลักโดยให้ ภาพของการต่อสู้ทางชนชัน้ และภาพรวมของประวัตศิ าสตร์เป็ นส่วนเสริม ขณะที่บท - นัน้ มี รูปแบบของการอธิบ ายในอีก ลัก ษณะหนึ่ง กล่ าวคือ เป็ นลัก ษณะพรรณนาเกี่ยวกับ จุด ก าเนิ ด เชิง ประวัตศิ าสตร์ของทุนนิ ยมมากกว่าที่จะเป็ นการเสนอภาพแนวคิดเชิงนามธรรมเช่นในช่วงต้นๆของ หนังสือ การนาเสนอในส่วนแรกของบทความนี้เป็ นการให้ภาพรวมเกี่ยวกับ ว่าด้วยทุน และโครงสร้าง ของหนังสือเป็ นหลัก ในส่วนถัดไปผูเ้ ขียนได้นาเสนอเกี่ยวกับจุดตัง้ ต้น (Point of departure) ของการ วิพากษ์เศรษฐกิจการเมืองของมาร์กซ์ และแนวคิดเกีย่ วกับสินค้า และสิง่ ทีซ่ ่อนอยูฉ่ ากหลังของสินค้า ผ่านทางทฤษฎีมลู ค่าแรงงาน 2. ความมังคั ่ ง่ สิ นค้า และทฤษฎีมลู ค่าแรงงาน 2.1 จุดตัง้ ต้น (Point of Departure) ของการวิ พากษ์ หากเราตัง้ ค าถามถึ ง ลัก ษณะเด่ น ของระบบทุ น นิ ย มเราจะนึ ก ถึ ง ลัก ษณะ/คุ ณ สมบัติ (Features) ประการใดบ้างของความสัมพันธ์ทางสังคมในรูปแบบนี้? หากเราตอบคาถามนี้ภายใต้โลก ทัศน์ของเสรีนิยมใหม่ก็คงประกอบไปด้วยลักษณะเด่นด้านการส่งเสริมการค้าเสรี การมีบทบาทที่ จากัดของรัฐ การเคลื่อนย้ายแรงงานและทุนได้อ ย่างเสรี ตลอดจนการมีว ินัยทางการคลังในแบบ เดีย วกัน ซึ่ง คุ ณ ลัก ษณะเหล่ า นี้ เ ป็ นที่ร ับ รู้ก ัน ดัง ที่เ รีย กว่ า “ฉั น ทามติว อชิง ตัน ” (Washington Consensus) นัน่ เอง (ดูเพิม่ เติมเกี่ยวกับเสรีนิยมใหม่ใน Saad-Filho and Johnston, 2004; Harvey, 2007; Peck, 2010; Dardot and Laval, 2014) แต่ไม่ว่าเราจะมองลักษณะเด่นของความสัมพันธ์ทาง สังคมแบบทุนนิยมในแง่มุมใด จุดที่ถือได้ว่าเป็ นประเด็นพื้นฐานของทุกลักษณะเด่นคือ เพื่อ สร้าง “ความมังคั ่ ง”่ หรือ Wealth ให้เกิดขึน้ (Holloway, n.d.) อย่างไรก็ตามโดยทัวไปแล้ ่ วนั กวิชาการที่ 7 ศึกษา ว่าด้วยทุน นัน้ จะมองว่าสิง่ ทีม่ าร์กซ์ตงั ้ ต้นในการวิพากษ์เศรษฐกิจการเมือง (แบบทุนนิยม) ก็ คือ “การสะสมสินค้าอย่างมหาศาล” ดังถ้อยคาที่มาร์กซ์กล่าวว่า The wealth of societies in which the capitalist mode of production prevails appears as an “immense collection of commodities” กล่าวคือความมังคั ่ งของแต่ ่ ละสังคมที่มวี ถิ ีการผลิตแบบทุนนิยมนัน้ ปรากฏให้เห็นเด่นชัดโดยการ สะสมซีง่ สินค้าอย่างมหาศาล (Marx, 1976: 125) อย่างไรก็ตาม Holloway นัน้ เสนอต่างจากการอ่าน ว่าด้วยทุน ของนักมาร์กซิสต์โดยทัวไป ่ เพราะเขาเสนอว่า จุดตัง้ ต้นที่แท้จริงของ ว่าด้วยทุน นัน้ คือแนวคิดว่าด้วยเรื่องของ “ความมังคั ่ ง”่ (Wealth) เป้ าหมายหลักในการวิพากษ์เ ศรษฐกิจการเมือ งของมาร์ก ซ์นัน้ ไม่ใ ช่การวิพากษ์ท่ี “ตัว สินค้า ” หรือ “การสะสมสินค้า ” แต่ เ ป็ นการวิพากษ์ท่คี วามมังคั ่ งประดามี ่ ของสังคมแบบทุ น นิ ย ม ต่างหาก ดังนัน้ เราอาจกล่าวได้ว่าความมังคั ่ งนั ่ น้ เป็ นแนวคิดพืน้ ฐาน (Fundamental idea) ซึง่ นามาสู่ ประเด็นทีส่ บื เนื่องกันก็คอื เราจะมองความมังคั ่ งผ่ ่ านอะไร? คาตอบของมาร์กซ์คอื การมองผ่านสินค้า นันเอง ่ อย่างไรก็ตามสิง่ ทีม่ าร์กซ์สนใจวิพากษ์นนั ้ ไม่ได้มองทีต่ ัวสินค้าหรือบริการในตัวของมันเองแต่ อยู่ทก่ี ารเผยให้เห็น (Unravel) ถึง “ความสัมพันธ์ทางสังคม” (Social Relations) ทีซ่ ่อนอยู่เบือ้ งหลัง ของสินค้าต่างหาก โดยจะได้นาเสนอในส่วนถัดจากนี้ 2.2 สิ นค้า มูลค่า และกรรมาชีพ ดังที่ได้กล่าวไปว่ามาร์กซ์วพิ ากษ์ความมังคั ่ งของความสั ่ มพันธ์ทางสังคมแบบทุนนิยมผ่ าน การสะสมสินค้า แต่คาถามประการถัดมาก็คอื สินค้านัน้ คืออะไร? สาหรับมาร์กซ์แต่แรกเริม่ นัน้ สินค้า คือวัตถุ/สิง่ รอบตัวเราที่มคี ุณสมบัติในการตอบสนองความต้องการของมนุ ษย์ในด้านต่างๆ (Marx, 1976: 125) อย่างไรก็ตามคาถามสาคัญก็คอื ว่า สินค้านัน้ เกิดขึน้ มาได้อย่างไร? อาจกล่าวได้ว่าวัตถุบางชนิดนัน้ สามารถทาหน้าทีใ่ นการตอบสนองความต้องการของมนุ ษย์ ได้โดยธรรมชาติโดยเช่น อากาศ หรือน้ า ซึง่ มีอยู่เองตามธรรมชาติ สิง่ เหล่านี้มนุ ษย์ไม่ได้สร้างขึน้ แต่ ทาหน้าที่ในการตอบสนองความต้องการของร่างกายมนุ ษย์ได้ อย่างไรก็ตามมาร์กซ์มองว่าสาหรับ สินค้านัน้ โดยหลักแล้วเป็ นรูปแบบทางสังคม (Social form) กล่าวคือสินค้านัน้ ถูกผลิตสร้างขึน้ โดย สังคมมากกว่าทีจ่ ะมีอยู่เองตามธรรมชาติ รูปแบบทางสังคมของสินค้านัน้ เกิดขึน้ โดยการรังสรรค์ของ “แรงงาน” หรือชนชัน้ กรรมาชีพนัน่ เอง (ดู Marx, 1976: Ch 6) มาร์กซ์นนั ้ อธิบายว่าชนชัน้ กรรมาชีพ นัน้ นอกเหนือจากการสร้างสินค้าขึ้นมาแล้ วพวกเขายังได้สร้างสิง่ ที่เรียกว่า “มูลค่า” (Value) ขึน้ มา ด้วยและมูลค่าทีเ่ กิดขึน้ พร้อมๆกันกับการผลิตสินค้านัน้ มีเพียงกรรมกรเท่านัน้ ทีส่ ร้างมันขึน้ มา ไม่ใช่ 8 นายทุน และไม่ใช่ชนชัน้ อื่น เนื่องจากชนชัน้ อื่นนัน้ ไม่ใช่ชนชัน้ ผูท้ าการผลิตด้วยตนเอง (Marx, 1976: 138-162) มูลค่า ที่ก รรมกรได้ส ร้างขึ้นพร้อ มกันกับการผลิต สินค้าและบริการของเขานัน้ คือ สภาวะ นามธรรม ทีม่ าร์กซ์สร้างขึน้ เพื่ออธิบายรูปแบบทางสังคม (Social form) ทีซ่ ่อนอยูเ่ บือ้ งหลังของสินค้า อันเป็ นวัตถุรปู ธรรม มูลค่านัน้ สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิดด้วยกันได้แก่ ชนิดแรก มูลค่าในการใช้ ประโยชน์ (Use value) มาร์กซ์อธิบายว่า “อรรถประโยชน์” (Utility) ของสิง่ ต่างๆเป็ นตัวสร้างมูลค่าให้ เกิดขึ้น อรรถประโยชน์ ของวัตถุต่ างๆเมื่อ นามาประกอบสร้าง/ผลิต ขึ้นเป็ นสินค้านัน้ ได้ทาให้เ กิด “คุณสมบัตทิ เ่ี ป็ นประโยชน์” ขึน้ ในทางใดทางหนึ่ง อย่างไรก็ดมี ลู ค่าในการใช้ประโยชน์นนั ้ จะไม่เกิดขึน้ หากสินค้าหนึ่งๆไม่ได้ถูกใช้งาน หรือไม่ได้รบั การบริโภคในวิธกี ารต่างๆ (Marx, 1976: 131) สาหรับ แนวคิดเรื่องมูลค่าในการใช้ประโยชน์นัน้ โดยมากแล้วมักจะถูกมองข้ามและไม่ได้รบั ความสนใจหาก เทียบกับมูลค่าในการแลกเปลีย่ น อย่างไรก็ดแี นวคิดดังกล่าวนี้มปี ระโยชน์ในการทาความเข้าใจคู่ตรง ข้ามระหว่าง “รูปแบบ” (Form) กับ “สารัตถะ” (Content) ซึง่ เป็ นแนวคิดคู่ตรงข้ามทีม่ าร์กซ์ใช้และถูก พบได้บ่อยในการวิพากษ์เศรษฐกิจการเมืองทุนนิยมของเขา ตัวอย่างการพิจารณารูปแบบ-สารัตถะ ของสินค้าโดยมองผ่านมูลค่าใช้สอย เช่น สินค้าข้าวสารหนึ่งกระสอบ ซึง่ มีมลู ค่าในการใช้ประโยชน์ท่ี ชัดเจนคือใช้เพื่อการบริโภค ทัง้ นี้ในสังคมอดีตกาลข้าวสารหนึ่งกระสอบนัน้ ก็ยงั คงมีมูลค่าในการใช้ ประโยชน์ ไ ม่ต่ า งกัน แต่ ห ากมองที่ “รูปแบบ-สารัต ถะ” แล้ว เราจะพบว่ า มีค วามแตกต่ า งเกิด ขึ้น กล่าวคือในสังคมก่อนทุนนิยมนัน้ ข้าวสารหนึ่งกระสอบซึ่งมีสารัตถะคือข้าวสารเพื่อใช้หุงรับประทาน เช่นในปั จจุบนั แต่หากมองที่ “รูปแบบทางสังคม” จะพบว่าข้าวสารในสังคมก่อนทุนนิยมนัน้ อาจมี รูปแบบเพื่อใช้เป็ นเครื่องบรรณาการแก่เจ้าเมืองหรือผู้ปกครองได้ด้วย ขณะที่สงั คมทุนนิ ยมนัน้ แม้ สารัตถะของข้าวสารจะคงเดิมแต่รูปแบบทางสังคมได้เปลี่ยนไปจากการเป็ นเครื่องบรรณาการมาสู่ การเป็ น “สินค้า” เพื่อการซือ้ /ขายตามธรรมดาเท่านัน้ อย่างไรก็ตามสิง่ ที่มาร์กซ์ให้ความสนใจมากกว่ามูลค่าชนิดแรกก็คอื มูลค่าอีกชนิดหนึ่ง ซึ่ง เรียกว่า มูลค่าในการแลกเปลีย่ น (Exchange value) ซึง่ สาหรับมาร์กซ์นนั ้ มองมูลค่าในการแลกเปลี่ยน ว่าเป็ นมูลค่าในการนามาใช้แลกเปลีย่ นทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับกันได้ (Valid exchange value) ของสินค้าสอง ชนิด กล่าวคือเป็ นการแสดงออก (Express) ว่ามีสงิ่ ที่เท่าเทียม หรือทดแทนกันได้ (Equal) ดังนัน้ มูลค่าในการแลกเปลีย่ นจึงเป็ นเพียง “รูปแบบของการแสดงออก” (Mode of Expression) ของสภาวะ นามธรรมทีซ่ ่อนอยูใ่ ต้ฉากหน้าของสินค้าต่างๆ (Marx, ) ยกตัวอย่างเช่น เก้าอี้ 1 ตัว = กางเกงขายาว 2 ตัว หรือ กล่ าวอีก ทางหนึ่งก็ค ือ กางเกงขายาว 2 ตัว = เก้าอี้ 1 ตัว ดังนัน้ ด้ว ยสถานการณ์ ทาง 9 ประวัตศิ าสตร์เช่นนี้ กล่าวได้ว่าสินค้าสองชนิดนี้ในปริมาณดังกล่าวมีมูลค่าในการแลกเปลี่ยนที่เท่า เทียมกัน ทัง้ นี้สนิ ค้าแต่ละชนิดนัน้ สามารถมีมูลค่าในการแลกเปลี่ยนโดยเปรียบเทียบกับสินค้าชนิด อื่นๆได้อกี จานวนมากไม่รู้จบ ตัวอย่างเช่น เก้า อี้ ตัวนัน้ = กางเกงขายาว ตัว แต่เก้าอี้ ตัวก็ อาจจะมีมลู ค่าแลกเปลีย่ น = ไวน์ ขวด = การนังแท็ ่ กซี่ รอบ ได้ดว้ ย ดังนัน้ จะเห็นว่ามูลค่าในการ แลกเปลี่ยนนัน้ เกิดขึ้นโดยเปรียบเทียบกับสินค้าชนิดอื่นๆได้เสมอ อีกทัง้ ยังไม่จาเป็ นต้องเกิดขึ้น เฉพาะกับสินค้าซึง่ เป็ นวัตถุเท่านัน้ แต่บริการ (Services) เช่น การให้บริการโรงแรม การบริการนวด เพื่อสุขภาพ หรือการใช้บริการรถแท็กซี่ นัน้ สาหรับมาร์กซ์แล้วก็ไม่ได้มคี วามแตกต่างประการใดกับ สินค้าทีจ่ บั ต้องได้ เพราะผูบ้ ริโภคยังสามารถใช้ประโยชน์จาก “มูลค่าในการใช้สอย”หรือ Use value ของบริการชนิดต่างๆได้ ในมุมมองของมาร์กซ์นนั ้ มูลค่าในการแลกเปลีย่ นนัน้ ไม่สามารถถูกพิจารณา เป็ นสิง่ ใดไปได้นอกจากการเป็ น “รูปแบบของการแสดงออก” (Mode of expression) และเป็ นเพียง “รูปแบบที่ปรากฏให้มองเห็นได้” (Form of appearance) ของความสัมพันธ์ทางการผลิตที่ซ่อนอยู่ เบื้อ งหลังสินค้าและบริก ารนัน้ ๆ ภายใต้ก ระบวนการแลกเปลี่ยนในตลาดนัน้ จะเกิดสภาวะที่เป็ น “นามธรรม” (Abstraction) เกิดขึน้ เพื่อให้กระบวนการแลกเปลีย่ นนัน้ เป็ นไปได้เนื่องจากสินค้าแต่ละ ชนิดนัน้ มีมลู ค่าในการใช้ประโยชน์ (Use value) ทีแ่ ตกต่างกัน (Marx, 1976: 138) ดังนัน้ กล่าวโดยสรุปแล้วสินค้าคือผลของการใช้กาลังแรงงานของมนุ ษย์รงั สรรค์ข้นึ โดยมี องค์ประกอบสาคัญอยูส่ องส่วนด้วยกันคือ ประการแรก สินค้านัน้ จะต้องมีคุณสมบัตบิ างประการทีเ่ ป็ น ประโยชน์ในด้านใดด้านหนึ่งกับคนบางกลุ่ม (Use value) หากสินค้าทีผ่ ลิตขึน้ ไม่มปี ระโยชน์ในการใช้ สอยแต่ประการใด และสินค้านัน้ ไม่ได้เป็ นทีต่ อ้ งการและไม่สามารถจาหน่ ายได้เลย สิง่ เหล่านัน้ จัดเป็ น ผลิตภัณฑ์ (Product) แต่ไม่ใช้สนิ ค้า (Commodity) ตามแบบของมาร์กซ์ ประการทีส่ อง สินค้านัน้ จะต้องมีคุณสมบัตนิ าไปแลกเปลีย่ นกับสินค้าอื่นในตลาดได้ (Exchange value) ผ่านสินค้าตัวกลางคือ เงิน ตรา 3 (Money) อย่า งไรก็ต ามมูล ค่ า ในการแลกเปลี่ย นนัน้ เป็ น คนละสิ่ง กับ “ราคา” (Price) ที่ ผูบ้ ริโภคได้จา่ ยให้กบั ผูค้ า้ เพราะราคานัน้ เป็ นสิง่ ทีส่ งั คมเป็ นตัวกาหนดตามความพึงพอใจร่วมกันของ ผูซ้ อ้ื และผูข้ าย แต่มลู ค่านัน้ สะท้อนถึงแรงงานและความสัมพันธ์ทางการผลิตเบือ้ งหลังของสินค้าซึ่ง เป็ นคนละส่ ว นกัน ทัง้ นี้ใ นส่ ว นของแนวคิดเกี่ยวกับ มูล ค่ านัน้ จะได้ก ล่ าวถึงเพิ่มเติมในหัว ข้อ ที่ ด้านล่างโดยกล่าวถึงการสร้างมูลค่าส่วนเกิน (Surplus value) หรือกาไรของนายทุนและตัวกาหนด ขนาด (Magnitude) ของมูลค่า 3 อย่างไรก็ตาม “เงินตรา” ไม่ใช่ประเด็นหลักของการนาเสนอในบทความนี้ โปรดดูเพิม่ เติมใน Marx, 1976: Ch 3) 10 ดังทีไ่ ด้นาเสนอไปข้างต้นนี้ เราจะมองเห็นภาพรวมของความสัมพันธ์ทางสังคมแบบทุนนิยม ได้ในระดับหนึ่งแล้วว่าความมังคั ่ งอั ่ นเกิดขึน้ มาจากการผลิตและสังสมสิ ่ นค้าและบริการนัน้ ได้ตงั ้ อยู่บน รากฐานของการรังสรรค์โดยกรรมกร/ชนชัน้ แรงงาน สาหรับมาร์กซ์มองว่าการรังสรรค์การผลิตของ กรรมกรนัน้ ไม่ได้เป็ นสิง่ สวยงาม หากแต่เป็ นความสัมพันธ์ทางชนชัน้ (Class relationship) ทีไ่ ม่เท่า เทียม กรรมกรนัน้ เป็ นผูผ้ ลิตสินค้าก็จริงอยูแ่ ต่ขณะเดียวกันนัน้ เองกรรมการก็ถูกซือ้ /ขายได้โดยชนชัน้ นายทุน การซื้อ/ขายกรรมกรในที่น้ีไม่ได้เป็ นการซื้อที่ตวั คนเช่นสมัยการค้าทาสแบบในอดีต แต่ใน สัง คมทุ น นิ ย มนั น้ นายทุ น ได้ซ้ือ สิ่ง ที่เ รีย กว่ า “ก าลัง แรงงาน” (Labour power) หรือ “ศัก ยภาพ/ ความสามารถ” ของแรงงานในด้านต่างๆต่างหาก (Marx, 1976: Ch 6) กาลังแรงงาน หรือความสามารถของกรรมกรในการทางานนัน้ คือผลรวมของศักยภาพทัง้ ทางด้านจิตใจ (Mental) และด้านร่างกาย (Physical) ทีม่ อี ยู่ในตัวของมนุ ษย์เพื่อใช้ในการผลิตมูลค่า ในการใช้ประโยชน์ของสินค้าต่างๆ (Marx, 1976: 270) ในการซือ้ กาลังแรงงานโดยชนชัน้ นายทุนเพื่อ นามาเป็ นปั จจัยในการผลิตและนาไปสู่การสร้างความมังคั ่ งของนายทุ ่ นนัน้ จะต้องเกิดเงื่อนไขทาง ประวัตศิ าสตร์พร้อมกัน 2 ประการได้แก่ ประการแรก กรรมกรนัน้ จะต้องเป็ นอิสระเหนือกาลังแรงงาน ของตนเอง กล่าวคือการซื้อกาลังแรงงานภายใต้ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบทุนนิยมนัน้ กรรมกร จะต้องอิสระชน (Free man) ไม่เป็ นทาสหรือ ทาสติดที่ดินของเจ้านายเช่นในอดีต ) ประการทีส่ อง สภาวะการซือ้ ขายกาลังแรงงานจะเกิดขึน้ ได้กต็ ่อเมื่อกรรมาชีพนัน้ จะต้องไม่มสี นิ ค้าอื่นทีจ่ ะนามาขาย ได้อกี แล้วนอกเหนือจากกาลังแรงงานของตัวเขาเอง กล่าวคือกรรมกรนัน้ เป็ นผู้ทป่ี ราศจากซึง่ ปั จจัย ในการผลิต วัตถุดบิ และเครือ่ งมือในการผลิตทัง้ ปวง (Marx, 1976: 271-272) กรรมาชีพนัน้ เมือ่ ตกลง ขายกาลังแรงงานหรือความสามารถของตนแล้วก็จะต้องตกอยู่ภายใต้สญ ั ญาของการทางาน (Work contract) ภายใต้ความสัมพันธ์ทางชนชัน้ ลักษณะนี้ได้นาไปสู่ส ภาวะที่มาร์กซ์เ รียกว่า “การขูดรีด แรงงาน” (Exploitation) เพื่อ สร้างความมังคั ่ งให้ ่ ก ับชนชัน้ นายทุน ในหัว ข้อ ด้านล่ างผู้เ ขียนจะได้ กล่าวถึงต่อไปเกีย่ วกับการขูดรีดแรงงานเพื่อสร้าง “มูลค่าส่วนเกิน” (Surplus value) ให้เกิดขึน้ 3. ว่าด้วยมูลค่าส่วนเกิ น ณ จุดนี้ ผู้อ่านได้เห็นภาพความสัมพันธ์ทางสังคมในแบบทุนนิยมได้ดยี งิ่ ขึน้ แล้วว่าในสังคม เช่ น นี้ นัน้ สะสมความมังคั ่ ง่ ผ่ า นทางสิน ค้า และบริก าร (ทัง้ นี้ ไ ม่ใ ช้เ พื่อ ให้ม ีส ิน ค้า มากขึ้น แต่ เ พื่อ แปรเปลี่ยนสินค้าเหล่านัน้ เพื่อให้ม ี “เงิน” มากขึน้ ในท้ายที่สุด) โดยมีกรรมกรเป็ นผู้สร้างสินค้าและ บริก ารขึ้น มา อีก ทัง้ กรรมกรเองยัง เป็ น หนึ่ ง ในปั จ จัย การผลิต ที่ส ามารถซื้อ -ขายแลกเปลี่ย นได้ 11 เช่นเดียวกับอุปกรณ์ท่เี ป็ นวัต ถุด้วย อย่างไรก็ตามกรรมกรไม่ได้ขายร่างกายทัง้ หมดให้แก่นายทุน หากแต่เป็ นการขาย “กาลังแรงงาน” หรือ “ความสามารถในการผลิต” ต่างหาก และด้วยสิง่ ทีแ่ รงงาน/ กรรมาชีพมีขายนี้เองได้นามาสู่การสะสม “มูลค่าส่วนเกิน” หรือ “กาไร” ในการผลิตโดยชนชัน้ นายทุน ในหัวข้อนี้จะได้ทาการพิจารณาว่ามูลค่าส่วนเกินทีน่ ายทุนขูดรีดเอาไปจากการใช้กาลังแรงงานในการ ผลิตของกรรมกรนัน้ เกิดขึน้ อย่างไรและในรูปแบบใดบ้าง 3.1 ตัวกาหนดมูลค่า ก่อนที่จะกล่าวถึงว่ามูลค่าส่วนเกินได้ถูกขูดรีดโดยนายทุนอย่างไรนัน้ เราควรต้องทาความ เข้าใจแนวคิดเรื่อ งตัวก าหนด (Determinant) ขนาด (Magnitude) ของมูลค่าเสียก่อน ทัง้ นี้มาร์กซ์ อธิบายว่าสิง่ ที่ใช้กาหนดมูลค่าของสินค้านัน้ คือ “เวลาทางานทีจ่ าเป็ นของสังคมโดยเฉลีย่ ” (Socially Necessary Labour Time ซึง่ จากนี้จะเรียกตัวย่อว่า SNLT) ทีแ่ รงงานต้องใช้ในการผลิตสินค้า/บริการ 1ชิ้น (Marx, 1976: 131 และดู Tombazos, 2014: 33-43; Postone, 1995) SNLT นั น้ เป็ น ค่ า เฉลี่ย โดยประมาณของแรงงานในสภาวะประวัตศิ าสตร์หนึ่งๆ (ซึง่ มีความสามารถในการผลิตและเทคโนโลยี ในการผลิตแตกต่างกันตามยุคสมัยที่เ ปลี่ยนแปลงไป) ในการผลิตสินค้าและบริการ แนวคิดเรื่อ ง SNLT นัน้ มาร์กซ์นามาใช้เพื่อเป็ นการแย้งแนวคิดเรื่อง เวลาในการผลิตสินค้า (Labour Time; LT) ของสานักเศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิก (Classical Economics) ซึ่งสานักคลาสสิกนัน้ มองว่า LT นัน้ เป็ นตัวกาหนดขนาดของมูลค่า ดังนัน้ ชิน้ งานหรือสินค้าทีม่ คี วามซับซ้อนและใช้กระบวนการผลิตนาน ย่อมนามาสู่ “มูลค่า” ทีส่ งู ขึน้ ของสินค้าหรือบริการชิน้ นัน้ ๆ แนวคิดดังกล่าวของสานักคลาสสิกถูกแย้งและมองได้ว่าทัง้ นี้หากแรงงานจงใจทางานช้า หรือ ว่าทางานได้ชา้ อันเนื่องมาจากมีความสามารถต่ ากว่าคนอื่นโดยเปรียบเทียบกันแล้ว นัน่ หมายความ ว่าสินค้าแบบเดียวกันก็จะมีมลู ค่าทีแ่ ตกต่างไปเพราะความสามารถในการผลิตของแรงงาน ด้วยเหตุน้ี มาร์กซ์จงึ เสนอว่าในการวัดขนาดของมูลค่านัน้ ไม่ควรพิจารณาที่ LT ของแรงงานทีเ่ ป็ นปั จเจก แต่ควร พิจารณาที่ SNLT กล่าวคือดูโดยรวมว่าในสังคมนัน้ ๆโดยเฉลี่ยแล้วสินค้าแบบเดียวกันใช้เวลาผลิต เท่าไร ตัวอย่างเช่น การผลิตเก้าอี้ไม้ 1 ตัว ในสังคมที่มรี ะดับการพัฒนาด้านเทคโนโลยีการผลิตดี พอสมควร SNLT ทีใ่ ช้ในการผลิตเก้าอีไ้ ม้นนั ้ อยู่ท่ี 4 ชัวโมงจึ ่ งจะผลิตได้แล้วเสร็จ หากกรรมกรผู้ผลิต เก้ า อี้ ใ ช้ เ วลา 6 ชัว่ โมงในการผลิต ก็ ห มายความว่ า กรรมกรนั ้น มีป ระสิ ท ธิภ าพในการผลิต (Productivity) ต่ากว่าค่าเฉลีย่ ของสังคม ในทางกลับกันหากแรงงานใช้เวลาเพียง 2 ชัวโมงเพื ่ ่อทาการ 12 ผลิตเก้าอีท้ โ่ี ดยปกติแล้วค่าเฉลีย่ ของแรงงานในสังคมนัน้ ใช้ 4 ชัวโมงในการผลิ ่ ตก็ถอื ได้ว่าแรงงานนัน้ มีประสิทธิภาพในการผลิตทีส่ งู กว่าค่าเฉลีย่ ของสังคม อย่างไรก็ตามประเด็นสาคัญมิได้อยู่ทก่ี ารทาความรูจ้ กั ตัวกาหนดมูลค่า (Determinant) โดย แปลกแยกจากความสัมพันธ์เ ชิงชนชัน้ (Class relations) ทัง้ นี้ SNLT ช่ว ยชี้ใ ห้เ ราเห็นว่า “มูล ค่ า ส่วนเกิน” (Surplus value) ทีน่ ายทุนกอบโกยเอาจากการทางานของกรรมาชีพนัน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร ผ่านการเชื่อมโยงกับแนวคิดเรื่อง “ชัวโมงการท ่ างาน” (Working Hours) (ในเรื่องชัวโมงท ่ างานดู Marx, 1976: Ch 10) ซึง่ จะได้อธิบายในหัวข้อด้านล่างนี้ 3.2 มูลค่าส่วนเกิ นแบบสัมบูรณ์ และแบบสัมพัทธ์ มูลค่าส่วนเกิน (Surplus value) คือ การขูดรีด (Exploitation) ทีน่ ายทุนได้ตกั ตวงจากชัวโมง ่ การผลิตของกรรมาชีพไป หากกล่าวอีกนัยยะหนึ่งมูลค่าส่วนเกินก็คอื “กาไร” (Profit) จากการผลิตใน ระบบทุนนิยมนัน่ เอง (Marx, 1976: 429) อย่างไรก็ตามคาถามสาคัญก็คอื ว่านายทุนนัน้ ได้ทาการขูด รีดมูล ค่ าส่ ว นเกินจากชัวโมงการท ่ างานไปอย่างไร? เราจะพิจารณาแผนภาพด้านล่ างนี้เพื่อตอบ คาถามดังกล่าว 6 A 2 B C แผนภาพที่ 1: ชัวโมงในการท ่ างาน (Working Hours) จากแผนภาพที่ 1 ด้านบนนี้แสดงชัวโมงในการท ่ างานในแต่ละวันของกรรมกรซึง่ เป็ นจานวน ชัวโมงนั ่ บจาก A จนถึง C (AC) อย่างไรก็ตามจากแนวคิดเรื่องตัวกาหนดมูลค่าดังที่นาเสนอไปใน ส่วนก่อนหน้านี้เราพบว่าชัวโมงการท ่ างานทีถ่ ูกกาหนดตามสัญญาการจ้างงานนัน้ ไม่ใช่สงิ่ เดียวกันกับ ชัวโมงในการผลิ ่ ต สินค้า/บริก ารที่แรงงานทาได้ กล่ าวคือ หากเราสมมติใ ห้ AC คือ ชัวโมงท ่ างาน มาตรฐานที่ 8 ชัวโมงต่ ่ อวัน แต่ในความเป็ นจริงแล้วแรงงานไม่ได้ใช้เวลาถึง 8 ชัวโมงในการผลิ ่ ต สินค้าในปริมาณตามสัญญาการผลิต ดังนัน้ AB จึงแทน “เวลาการทางานทีจ่ าเป็ นโดยเฉลีย่ ของสังคม นัน้ ๆ” (Social Necessary Labour Time; SNLT) สมมติว่าในที่น้ีคอื 6 ชัวโมง ่ ดังนัน้ กล่าวโดยสรุป 13 แล้วแผนภาพที่ 1 นี้ได้ชใ้ี ห้ผอู้ ่านได้เห็นว่ากรรมกรนัน้ ต้องทางานตามชัวโมงท ่ างานทีต่ กลงจ้างโดย นายทุนคือ 8 ชัวโมง ่ แต่กรรมกรนัน้ ใช้เวลาเพียง 6 ชัวโมงเท่ ่ านัน้ ในการผลิตสินค้า/บริการตามที่ กาหนดและเป็ นส่วนทีส่ มเหตุสมผลต่อค่าจ้างทีไ่ ด้รบั อย่างไรก็ตามคนงานจะยังกลับบ้านไม่ได้แม้จะ ทาการผลิตได้ตามทีน่ ายทุนต้องการแล้วแต่พวกเขายังต้องทางานต่อไปอีก 2 ชัวโมงตามสั ่ ญญาการ จ้างงาน ในส่วนชัวโมงท ่ างาน 2 ชัวโมงที ่ ่เหลือ (BC) นี้เองมาร์กซ์เรียกว่า เป็ น “แรงงานส่วนเกิน ” (Surplus Labour) กล่าวคือผลผลิตจากส่วนทีเ่ กินนี้เองทีเ่ ป็ น “มูลค่าส่วนเกิน” (Surplus Value) และ เป็ น “กาไร” (Profit) ของนายทุนนันเอง ่ อย่างไรก็ตามรูปแบบการขูดรีดมูลค่าส่วนเกินจากแรงงานัน้ มี อยูส่ องรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน โปรดพิจารณาแผนภาพที่ 2 และ 3 ต่อจากนี้ 6 A 4 B C แผนภาพที่ 2: การสร้างมูลค่าส่วนเกินแบบสัมบูรณ์ (Absolute Surplus Value) เมื่อพิจารณาแผนภาพที่ 2 ด้านบนเราจะพบวิธกี ารขูดรีด (Exploitation) มูลค่าส่วนเกินแบบ สัมบูรณ์ (Absolute Surplus Value) ซึง่ จากแผนภาพได้แสดงให้เห็นว่าหากเปรียบเทียบกับแผนภาพ แรกเราจะพบว่าชัวโมงท ่ างานตามที่นายทุนต้องการ (AC) นัน้ เพิม่ มากขึน้ กล่าวคือนายทุนได้บงั คับ โดยวิธกี ารต่างๆเพื่อให้กรรมกรทางานเพิม่ ขึ้นจาก 8 ชัวโมงไปเป็ ่ น 10 ชัวโมงต่ ่ อวัน วิธกี ารเช่นนี้ กระทาได้ในสังคมอุตสาหกรรมขัน้ เริม่ ต้นทีย่ งั มีระบบกฎหมายคุ้มครองแรงงานทีไ่ ม่ดนี ัก นายทุนจึง สามารถเอาเปรียบกรรมกรได้โดยการเพิม่ ชัวโมงในการท ่ างานอย่างเต็มทีต่ ามทีต่ ้องการ อย่างไรก็ดี หากเราดูท่ี AB ก็จะพบว่าแท้จริงแล้วชัวโมงที ่ ่จาเป็ นในการผลิตนัน้ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม กรรมกรยังคงผลิต สินค้า/บริก ารได้ท่ชี วโมงแรงงานที ั่ ่จาเป็ นในระดับเดิมคือ 6 ชัวโมง ่ ดังนัน้ ใน กระบวนการขูดรีดมูลค่าส่วนเกินแบบสัมบูรณ์น้ีเองสิง่ ที่นายทุนได้รบั ก็คอื ชัวโมงแรงงานส่ ่ วนเกิน (BC) ที่เพิม่ สูงขึน้ มากเป็ น 4 ชัวโมงโดยไม่ ่ จาเป็ นต้องพัฒนาพลังการผลิตและความสามารถในการ ผลิตของแรงงานแต่ประการใด 14 2 A 6 B C แผนภาพที่ 3 การสร้างมูลค่าส่วนเกินแบบสัมพัทธ์ (Relative Surplus Value) อย่างไรก็ต ามเมื่อ สังคมทุนนิยมมีพฒ ั นาการมากขึ้น รัฐและสังคมต่ างๆมีการพัฒนาเพื่อ คุม้ ครองสิทธิของประชาชนในระดับทีค่ รอบคลุมมากขึน้ ส่งผลให้ประเด็นเรือ่ งการคุม้ ครองแรงงานใน แต่ละรัฐนัน้ มีการปรับตัวไปในทิศทางบวกส่งผลให้นายทุนไม่สามารถเพิม่ ชัวโมงท ่ างานในแต่ละวันได้ ตามอาเภอใจเช่นในอดีต ดังนัน้ นวัตกรรมทีน่ ายทุนคิดค้นเพื่อจะยังคงการขูดรีดมูลค่าส่วนเกินให้ได้ ในระดับเดิมหรือสูงกว่าเดิมก็คอื การพัฒนาทีเ่ ทคโนโลยีในการผลิต กล่าวคือพัฒนาพลังในการผลิตให้ สูงขึน้ เพื่อให้ SNLT ของแรงงานลดลงโดยไม่ไปเพิม่ ชัวโมงท ่ างานตามสัญญาจ้าง ดังทีแ่ ผนภาพที่ 3 ข้างต้นได้แสดงให้เห็นว่าชัวโมงท ่ างาน AC นัน้ มีขนาดเช่นเดียวกับแผนภาพที่ 1 คือ 8 ชัวโมง ่ ขณะที่ AB หรือ SNLT นัน้ ลดลงอย่างมหาศาลอันเนื่องมาจากการพัฒนาในส่วนของเครื่องจักร เทคโนโลยี และทัก ษะในการผลิต ส่ งผลให้ชวโมงการท ั่ างานที่จาเป็ นลดลงเหลือ เพีย ง 2 ชัวโมงเท่ ่ านัน้ ซึ่ง หมายความว่ามูลค่าส่วนเกิน (BC) นัน้ ได้เพิม่ สูงขึน้ เป็ น 6 ชัวโมง ่ การขูดรีดลักษณะนี้เรียกว่าการ สร้าง “มูลค่าส่วนเกินแบบสัมพัทธ์” โดยทาให้นายทุนได้กาไรเพิม่ ขึ้นขณะที่กรรมกรไม่รสู้ กึ ต่อต้าน เนื่องมาจากชัวโมงท ่ างานในแต่ละวันของเขายังคงเป็ น 8 ชัวโมงโดยรวมเช่ ่ นเดิมนันเอง ่ การนาเสนอในหัวข้อที่ 3 นี้เป็ นการแสดงให้เห็นถึงวิธกี ารในการวิพากษ์เศรษฐกิจการเมือง แบบมาร์กซ์ซ่งึ เน้นที่การวิพากษ์และเผยให้เห็นถึงแง่มุมที่โดยปกติแล้วถูกทาให้มองข้ามไปโดยชน ชัน้ ปกครอง/ชนชัน้ นายทุน หัวข้อที่ 3 นี้เผยให้เห็นถึงแง่มุมของการกดขีข่ ดู รีดและเอารัดเอาเปรียบที่ ซ่อนอยูภ่ ายใต้ฉากหลังของชัวโมงในการท ่ างานทีด่ ูเป็ นธรรมเนื่องจากเป็ นข้อตกลงทีน่ ายจ้าง-ลูกจ้าง ได้ตกลงร่วมกันตามสัญญาการจ้างงาน วิธกี ารมองโลกเชิงวิพากษ์เช่นนี้ช่วยชี้ให้เห็นว่าแท้จริงแล้ว ความสัมพันธ์ทางสังคมในแบบทุนนิยมนัน้ ไม่ได้ตงั ้ อยู่บนความเป็ นธรรมแต่อ ย่างใด หากแต่เพื่อ ประโยชน์ มหาศาลของนายทุนเป็ นที่ตงั ้ ในส่วนสุดท้ายของบทความด้านล่างผู้เขียนจะได้นาเสนอ แง่มุมทีส่ าคัญอีกประการในการวิพากษ์เศรษฐกิจการเมืองทีป่ รากฏใน ว่าด้วยทุน ได้แก่แนวคิดเรื่อง สภาวะแปลกแยกอันเนื่องมาจากการผลิตในระบบทุนนิยม 15 4. สภาวะแปลกแยกจากสิ นค้า (Commodity Fetishism) การนาเสนอในส่วนสุดท้ายนี้เป็ นการอธิบายแนวคิดเรื่อง Commodity Fetishism ซึ่งในที่น้ี ผู้เขียนเลือกใช้คาภาษาไทยว่า “สภาวะแปลกแยกจากสินค้า ” (ที่กรรมกรได้ผลิตขึน้ มาเอง) แนวคิด เรื่องสภาวะแปลกแยกจากสินค้านี้เป็ นสิง่ หนึ่งที่ยนื ยันได้ว่าความคิดทางการเมืองของมาร์กซ์นัน้ มี ความสอดคล้อ งกันทัง้ ในสมัยวัยหนุ่ มและวัยที่มปี ระสบการณ์ ทางการเมือ งมากขึ้น ทัง้ นี้ผู้ศึกษา แนวคิดมาร์ก ซิส ต์จานวนหนึ่งได้ตีค วามว่ามาร์ก ซ์ใ นสมัยวัยหนุ่ มและสมัยที่มปี ระสบการณ์ นัน้ มี ความคิดที่แตกต่างกันโดยมาร์กซ์วยั หนุ่ มนัน้ เน้ นที่การศึกษาเชิงมนุ ษยนิยม (Humanism) และจิต นิยม (Idealism) เป็ นหลักขณะที่มาร์กซ์ในช่วงปลายนัน้ เป็ นผู้ท่ศี กึ ษาที่เรื่องของเศรษฐกิจเป็ นหลัก อย่างไรก็ดีผู้เ ขียนเสนอว่าความคิดของมาร์ก ซ์ทงั ้ สองช่ว งนัน้ แม้ จะมีก ารเน้ นหนักทางทฤษฎีใ น รูปแบบทีแ่ ตกต่างกันออกไปแต่จุดยืนหลักของมาร์กซ์นัน้ ไม่แตกต่างกัน และจุดยืนหลักนัน้ ก็คอื การ วิพากษ์ “สภาวะแปลกแยก” (Alienation) ที่สงั คมทุนนิยมได้กระทาให้เกิดกับมนุ ษย์ทุกคนและการ แสวงหาหนทางเพื่อปลดแอกจากสภาพการณ์ดงั กล่าว (เกีย่ วกับแนวคิดเรือ่ งสภาวะแปลกแยกในงาน เขียนของมาร์กซ์ในช่วงวัยหนุ่มนัน้ โปรดดู เข่น Mészáros, 2006; Wendling, 2009; Swain, 2012) อย่ า งไรก็ต ามเราควรกล่ า วถึง ความหมายของค าว่ า Fetish เสีย ก่ อ นเนื่ อ งจากการให้ ความหมายของคานี้ในปั จจุบนั นัน้ สื่อไปในทางทีห่ มายความถึง ความคลังไคล้ ่ อย่างลุ่มหลง และมักมี ความหมายในทางการลุ่ มหลงในทางเพศอีกด้วยและโดยทัวไปแล้ ่ วในวงวิชาการไทยนัน้ ได้แปล แนวคิดเรือ่ ง Commodity fetishism ว่า “ลัทธิบชู าสินค้า” หรือบ้างก็แปลว่า “ลัทธิลุ่มหลงสินค้า” ซึง่ ใน งานชิน้ นี้ผเู้ ขียนเสนอว่าการแปลความหมายเหล่านี้เป็ นการทาให้ความหมายทีม่ าร์กซ์ต้องการจะสื่อ นัน้ บิดเบือนไป คาว่า fetish ในบริบทของงานเขียน ว่าด้วยทุน นัน้ ไม่ได้หมายความถึงการลุ่ มหลง หรือยึดมันถื ่ อมันในสิ ่ นค้าแบรนด์เนมตามแนวทางทีก่ ลุ่มต่อต้านลัทธิบริโภคนิยมเข้าใจแต่อย่างใดแต่ แนวคิดเรื่อง fetishism นัน้ เป็ นแนวคิดที่มคี วามสัมพันธ์อย่างมากกับคาสาคัญอีกสองคาคือ “การทา ให้ก ลับ หัว กลับ หาง” (Inversion) และ “การท าให้เ ป็ น เรื่อ งลี้ล ับ ” (Mystification) (Bruschi, et. al., 2013: 58) สาหรับมนุ ษย์ในสังคมโดยทัวไปแล้ ่ วไม่ได้มองว่าสินค้านัน้ เป็ นสิง่ ที่มคี วามลี้ลบั ซ่อนอยู่แต่ อย่างใดจากประสบการณ์ในชีวติ ประจาวันของแต่ละคน อย่างไรก็ตามมาร์กซ์ได้ชใ้ี ห้เห็นว่าเบือ้ งหลัง ของรูปแบบ (Form) ทีป่ รากฏเป็ นสินค้านัน้ อาจจะไม่ได้มคี วามลีล้ บั อะไรหากเราพิจารณาที่ “มูลค่าใน การใช้ป ระโยชน์ ” (Use value) ของสิน ค้า ต่ า งๆ เพราะสิน ค้า เหล่ า นัน้ ก็ค ือ วัต ถุ ห รือ บริก ารเพื่อ ตอบสนองความต้องการนานัปการของมนุษย์ แต่ความลีล้ บั ของสินค้านัน้ เกิดขึน้ เมื่อเกิดกระบวนการ “แลกเปลี่ยน” (Exchange) ระหว่างสินค้า หนึ่ง กับ สินค้าอื่นๆ ในการแลกเปลี่ย นนัน้ มูล ค่ าในการ 16 แลกเปลี่ยนได้เกิดขึ้นซึ่งทาให้สงิ่ ที่มองภายนอกแล้วเป็ นสิง่ ปกติธรรมดา/เป็ นเรื่องธรรมชาติท่เี รา เข้าใจดีเช่น เก้าอี้นัน้ มีไว้เพื่อใช้นัง่ มีดนัน้ มีไว้เพื่อใช้หนสิ ั ่ ง่ ต่างๆ ฯลฯ ได้กลายไปเป็ นเรื่องที่ไม่ใช่ ธรรมชาติแต่เป็ นเรื่องของ “สังคม” ไปเนื่องจากเมื่อมีการแลกเปลีย่ นเกิดขึน้ ก็จะเกิดสภาวะนามธรรม ซ่อนอยู่เบื้องหลังการแลกเปลี่ยนสินค้า/บริการต่างๆดังที่มาร์กซ์เรียกว่า “มูลค่าในการแลกเปลี่ยน” (Exchange value) มูลค่าในการแลกเปลี่ยนนี้ไม่ใช่ธรรมชาติแต่เป็ นการสะท้อนภาพ “ความสัมพันธ์ ในสังคม” ที่ก าหนดมูล ค่ า ขึ้น มา มูล ค่ าเหล่ านี้ส ะท้อ นภาพความสัม พันธ์ร ะหว่ า งชนชัน้ นายทุ น กรรมาชีพ ความสัมพันธ์แบบนายจ้าง-ลูกจ้าง และความสัมพันธ์แบบขูดรีดเอารัดเอาเปรียบโดยทีเ่ รา ซึง่ เป็ นผูบ้ ริโภคไม่สามารถมองเห็นความสัมพันธ์เหล่านี้ได้ สาหรับมาร์กซ์นัน้ สภาวะแปลกแยกจาก สินค้าจะเกิดขึน้ ภายใต้ความสัมพันธ์ทางการผลิตแบบทุนนิยมเท่านัน้ (Marx, 1976) ภายใต้การผลิต แบบทุนนิยมนัน้ กรรมกรแต่ละคนทางานส่วนตัวของตนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายโดยไม่ได้ปรึกษาหารือ กับกรรมกรในโรงงานอื่น หรือผูผ้ ลิตรายอื่นๆ ผูผ้ ลิตนัน้ ทาได้เพียงคาดเดาเท่านัน้ ว่าจะผลิตสิง่ ใดและ ในปริมาณเท่าใด จนกระทังเมื ่ อ่ เกิดการ “แลกเปลีย่ น” เกิดขึน้ ทาให้ผผู้ ลิตนัน้ รูว้ ่ากาลังแข่งขันและต่อสู้ อยู่กบั ผูผ้ ลิตอื่นอยู่อย่างไรบ้างและจะต้องทาอย่างไรเพื่อให้สามารถขายสินค้าของตนเพื่อกาไรสูงสุด ได้ ภายใต้ความสัมพันธ์การผลิตในระบบทุนนิยมได้ทาให้ความสัมพันธ์ทางสังคมของผูค้ นนัน้ มี ลักษณะทีถ่ ูกทาให้ “กลับหัวกลับหาง” (Inversion) กล่าวคือมนุ ษย์ไม่ได้ม ี “ความสัมพันธ์ทางสังคม” ต่อมนุ ษย์ดว้ ยกันผ่านตัวมนุ ษย์เองอย่างทีค่ วรจะเป็ นแต่ในสังคมทุนนิยมนัน้ มนุ ษย์ได้มคี วามสัมพันธ์ ทางสังคมผ่านทางวัตถุซง่ึ ได้แก่ “สินค้าและบริการ” ต่างๆผ่านกระบวนการแลกเปลีย่ นในระบบตลาด และในขณะเดียวกันวัตถุหรือสินค้าต่างๆนัน้ กลับมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กนั กับสินค้าอื่นๆผ่านทาง ความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุ ษย์ โดยการรังสรรค์ผ่านการผลิตและการนาสินค้าเหล่านัน้ ไปสู่ตลาด เพื่อทาการแลกเปลี่ยน สภาวะเช่นนี้ มาร์กซ์เรียกว่าเป็ น “material relations between persons and social relations between things” (Marx, 1976: 166) สภาวะกลับหัวกลับหางจากสิง่ ที่ควรจะเป็ นนี้ เองทีม่ าร์กซ์เรียกว่า Commodity fetishism หรือสภาวะทีแ่ ปลกแยกอันเนื่องมาจากสินค้าทีม่ นุ ษย์ได้ ผลิต ขึ้นด้ว ยตนเอง ในสภาวะแบบนี้ ม าร์ก ซ์เ สนอว่ า มันเป็ น สภาวะที่เ กิด ขึ้น จริงอันเนื่อ งมาจาก ความสัมพันธ์ทางการผลิตแบบทุนนิยมหาใช่ภาพลวงตาเช่นการบูชาสิง่ ศักดิ ์สิทธิ ์ของศาสนาแต่อย่าง ใด อานาจของสินค้าต่างๆนัน้ คือของจริงทีท่ รงพลังยิง่ และชีวติ ของมนุ ษย์ทุกคนล้วนต้องข้องเกี่ยวกั บ พลังอานาจของมัน การนาเสนอในส่วนที่ 4 ของบทที่ 1 ใน ว่าด้วยทุน ฉบับที่ 1 เกี่ยวกับเรื่องสภาวะแปลกแยก อันเนื่องมาจากสินค้านัน้ มาร์กซ์ได้ท้งิ ท้ายข้อเสนอของเขาเกี่ยวกับการวิพากษ์เศรษฐกิจการเมือง 17 แบบทุนนิยมโดยมองว่าสานักเศรษฐศาสตร์แบบคลาสสิคนัน้ แม้ว่าจะค้นพบและได้อธิบายถึงทฤษฎี เกี่ยวกับมูลค่าเอาไว้กต็ ามแต่ว่าสานักคลาสสิคนัน้ ไม่ได้อธิบายทีป่ ระเด็นสาคัญของตัวกาหนดขนาด (Magnitude) ของมูลค่าอันเกิดมาจากการการขูดรีดแรงงานผ่านชัวโมงการท ่ างาน (ดังทีไ่ ด้นาเสนอ ไปข้างต้น) เนื่องจากสานักเศรษฐกิจการเมืองคลาสสิคไม่ได้พจิ ารณาทีป่ ระเด็นรูปแบบของมูลค่าและ บทบาทในการสร้างสรรค์มลู ค่าโดยกรรมาชีพดังนัน้ สานักคลาสสิคจึงมองกระบวนการผลิตสินค้าโดย ไม่เห็นความแปลกแยกภายในกระบวนการ และมองว่าความสัมพันธ์ทางการผลิตแบบทุนนิยมนัน้ เป็ นธรรมชาติ (Naturalisation) ที่ไม่ต้องตัง้ คาถามใดๆเกี่ยวกับความสัมพันธ์ใ นการผลิตแบบนัน้ อย่า งไรก็ต ามมุม มองของมาร์ก ซ์ท่ีม ีต่ อ การมองโลกและการเปลี่ย นแปลงของโลกนัน้ ไม่เ ชื่อ ใน กระบวนการทาให้เป็ นธรรมชาติเพราะมาร์กซ์มองโลกแบบวัตถุนิยมวิภาษ (Historical Materialism) กล่าวคือในทุกๆความสัมพันธ์การผลิตของแต่ละสังคมนัน้ ย่อมต้องมีความจาเพาะเจาะจงของสังคม นัน้ ๆ (Historical specificity) และพัฒนาการของสังคมนัน้ ย่อ มเป็ นไปโดยการลิขติ ของมนุ ษ ย์เ พื่อ ผลประโยชน์เชิงวัตถุของแต่ละชนชัน้ (Marx, 1976: 173-174) กล่าวโดยสรุปสภาวะแปลกแยกจากสินค้าหรือ Commodity fetishism นัน้ เป็ นสภาวะกลับหัว กลับหางจากความสัมพันธ์ทางสังคมทีค่ วรจะเป็ นทีท่ าให้มนุ ษย์มคี วามแปลกแยกจากมนุ ษย์ด้วยกัน ผ่านความสัมพันธ์เชิงวัตถุซ่งึ ได้แก่ การผลิตสินค้า/บริก ารในแง่มุมต่ างๆนัน่ เอง สภาวะเช่นนี้เ ป็ น ลัก ษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นภายใต้ความสัมพันธ์ทางการผลิตแบบทุนนิยมเท่านัน้ และเป้ าหมายของ แนวคิดทางเศรษฐกิจการเมืองของมาร์กซ์กค็ อื เพื่อก้าวข้ามให้พน้ จากสภาวะแปลกประหลาดนี้ให้ได้ ซึง่ สังคมทีจ่ ะปราศจากสภาวะเหล่านี้กค็ อื สังคมคอมมิวนิสม์ (Communism) ทีป่ ราศจากชนชัน้ นันเอง ่ 5. สรุป: ว่าด้วยนัยยะแห่งการวิ พากษ์ (เศรษฐกิ จการเมือง) บทความนี้มเี ป้ าหมายเพื่อ ที่จ ะอธิบ ายให้ผู้อ่ านได้เ ข้าใจมุมเรื่อ ง “การวิพากษ์เ ศรษฐกิจ การเมือง” (Critique of political economy) ในมุมมองของคาร์ล มาร์กซ์ผ่านงานเขียนเรือ่ ง ว่าด้วยทุน (The Capital) โดยมองผ่านทฤษฎีท่เี กี่ยวข้องทัง้ ในเรื่องของสินค้า ทฤษฎีมูลค่าแรงงาน ตัวกาหนด มูลค่าของแรงงาน ชัวโมงท ่ างาน การสร้างมูลค่าส่วนเกินแบบสัมบูรณ์และแบบสัมพัทธ์ และทฤษฎีว่า ด้วยความแปลกแยกของแรงงานผู้ผลิต สินค้า ทฤษฎีและแนวความคิดมาร์กซิสต์ท่สี าคัญ ดัง ที่ได้ น าเสนอไปข้า งต้ น นั น้ มีป ระโยชน์ อ ย่า งยิ่ง ต่ อ การเป็ น จุ ด ตัง้ ต้ น ในการริเ ริ่ม ศึก ษาความคิด ทาง เศรษฐกิจการเมืองของคาร์ล มาร์กซ์ และเป็ นเครื่องมือทางความคิดทีส่ าคัญทีผ่ อู้ ่านสามารถนาไปใช้ 18 ในการมองและอธิบายปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจการเมืองในรูปแบบทุนนิยมของโลกร่วมสมัยได้ใน หลากหลายแง่มมุ อย่างไรก็ตามเป้ าหมายสาคัญอีกประการหนึ่งของการนาเสนอในบทความนี้กค็ อื การนาเสนอ สิง่ ทีม่ าร์กซ์เรียกว่า “Critique” หรือว่า “การวิพากษ์” ซึง่ ก็คอื การพยายามอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ โดยก้า วให้พ้น จากการมองเพีย งแค่ เ ปลือ กนอก หรือ เพีย งรูป แบบเท่ า นัน้ แต่ ย งั ต้อ งเผยให้เ ห็น (Reveal/Unfold) ถึงความสัมพันธ์ท่ซี ่อ นอยู่เ บื้อ งหลังด้ว ย ซึ่ง “เปลือ กนอกหรือ รูปแบบ” สาหรับ มาร์ก ซ์ก็ค ือ “Form/Appearance” ที่ปรากฏให้เ ห็นโดยง่าย แต่ เ ปลือ กนอกหรือ รูปแบบทางสังคม ต่างๆนัน้ อาจไม่จาเป็ นต้องสะท้อนภาพของ “สารัตถะ” หรือว่า “แก่นแท้” หรือ “Content/Substance” เนื้อ ในดังที่ปรากฏเสมอไป (ดู De Angelis, 1996; Bonefeld, 2014: Ch 2) การจาแนก form และ content ของเศรษฐกิจการเมืองทุนนิยมของมาร์กซ์นัน้ มองผ่าน form ของสินค้าและบริการทีป่ รากฏ อยู่มากมายรายรอบตัวเรา หากมองการสะสมสินค้าผ่านโลกทัศน์แบบเสรีนิยมคลาสสิคเราจะอธิบาย ได้ว่าการสะสมนัน้ นาไปสู่การจ้างงานและจะนาไปสู่การหมุนเวียนของเงินตราและนามาซึง่ ความมังคั ่ ง่ ของสังคมในท้ายที่สุด อย่างไรก็ตามการนาเสนอในบทความนี้ได้ช้ใี ห้เห็นว่าภายใต้ความสัมพันธ์ ทางการผลิตแบบทุนนิยมนัน้ หากมองจากมุมวิพากษ์เศรษฐกิจการเมืองแบบมาร์กซ์เราจะพบว่า form แบบสินค้า/บริการนัน้ กลับซุกซ่อนสารัตถะหรือ content ทีแ่ ท้จริงเบือ้ งหลังสินค้า/บริการ สารัตถะที่ ซุก ซ่อ นอยู่ค ือ การขูดรีดระหว่างชนชัน้ การตัก ตวงผลประโยชน์ ของนายทุนผ่ านการสร้า งมูล ค่ า ส่ ว นเกิน และการท าให้ค นงานมีส ภาพเพีย งการเป็ น กลไกหนึ่ ง ในการผลิต ไม่ ไ ด้ม ีค่ า ต่ า งจาก เครื่องจักรแต่อย่างใด หากผู้อ่านสามารถจาแนกได้ว่าสิง่ ใดคือ Form หรือ content ก็จะมีโอกาสใน การวิพากษ์และแสวงหาหนทางในการแก้ไขปั ญหาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองทีแ่ ท้จริงได้ต่อไป 19 บรรณานุกรม Bonefeld, W. (2014). Critical theory and the critique of political economy: On subversion and negative reason. New York: Bloomsbury. Bruschi, V., et. al. (2013). Polylux Marx: A Capital Workbook in Slides Volume One. London: Monthly Review Press. Callinicos, A. (2014). Deciphering Capital: Marx's Capital and Its Destiny. London: Bookmarks. Dardot, P., & Laval, C. (2014). The new way of the world: on neoliberal society. London: Verso Books. De Angelis, M. (1996). Social relations, commodity-fetishism and Marx's Critique of Political Economy. Review of Radical Political Economics, 28(4), 1-29. Fine, B. and Saad-Filho, A. (2010). Marx’s Capital. 5th Ed. London: Pluto Press. Harvey, D. (2005). A brief history of neoliberalism. Oxford: Oxford University Press. Harvey, D. (2010). A companion to Marx's Capital (Vol. 1). London: Verso Books. Harvey, D. (2013). A companion to Marx's Capital (Vol. 2). London: Verso Books. Heinrich, M. (2012). An introduction to the three volumes of Karl Marx's Capital. New York: NYU Press. Holloway, J. (n.d.). Read Capital: The First Sentence (Capital starts with Wealth, not with the Commodity). Grundrisse. [Online]. Available at: http://www.grundrisse.net/englisharticles/Read_Capital_The_First_Sentence.htm [Accessed 1 June 2015]. Jameson, F. (2014). Representing Capital: A Reading of Volume One. London: Verso Books. Mandel, E. (1976). “Introduction” in Marx, K. Capital Vol.1. Fowkes, B. (trans). London: Penguin. Marx, K. (1976). Capital Vol.1. Fowkes, B. (trans). London: Penguin. 20 Mészáros, I. (2006). Marx's theory of alienation. London: Merlin Press. Peck, J. (2010). Constructions of neoliberal reason. Oxford: Oxford University Press. Postone, M. (1995). Time, labor, and social domination: A reinterpretation of Marx's critical theory. Cambridge: Cambridge University Press. Rosdolky, R. (1977). The making of Marx's' Capital'. London: Pluto Press. Saad Filho, A., & Johnston, D. (2004). Neoliberalism: A critical reader. London: Pluto Press. Shapiro, S. (2008). How to read Marx's Capital. London: Pluto Press. Swain, D. (2012). Alienation: An introduction to Marx's theory. London: Bookmarks. Wendling, A. E. (2009). Karl Marx on technology and alienation. Basingstoke: Palgrave Macmillan. Wolff, J. (2002). Why read Marx today?. Oxford: Oxford University Press.